พระผงสุริยัน – จนทรา ดวงตราเทวฤทธิ์ เนื้อปฐมฤกษ์ จะมีหลายเนื้อ เช่น เนื้อดำ, เนื้อน้ำตาล และเนื้อผสม (บางองค์ดำ-น้ำตาล, น้ำตาล-เขียว-ดำ) บางองค์ปิดแผ่นทองในพิมพ์ โดยส่วนใหญ่จะฝังพญาเหล็ก (หลวงปู่หวล เมตตามอบให้), ตะกรุดสาลิกา และเส้นเกศาหลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ (ครูเย็นซึ่งเป็นลูกบุตรบุญธรรมหลวงปู่ทิม มอบให้) มีจำนวนสร้างทั้งสิ้น ๓๒ องค์
เนื้อปฐมฤกษ์ ดำปัดทอง หลังฝังตะกรุด เกศา และพญาเหล็ก
เนื้อปฐมฤกษ์ ดำปัดทอง หลังโรยผงตะไบ ฝังตะกรุด เกศา และพญาเหล็ก
เนื้อปฐมฤกษ์ ดำปัดทองในพิมพ์ หลังฝังตะกรุดสาริกา
เนื้อปฐมฤกษ์ เขียว-ดำ ปิดทองในพิมพ์ หลังโรยผงตะไบ ฝังตะกรุด เกศา พญาเหล็ก
เนื้อปฐมฤกษ์ น้ำตาล-เขียวปัดทอง หลังโรยผงตะไบ ฝังตะกรุด เกศา พญาเหล็ก
เนื้อปฐมฤกษ์ น้ำตาล-เขียว หน้าเกศา หลังโรยผงตะไบ ตะกรุด พญาเหล็ก
เนื้อปฐมฤกษ์ น้ำตาล-เขียว-ดำปัดทอง หลังโรยผงตะไบ ฝังตะกรุด เกศา พญาเหล็ก
เนื้อดำ หลังฝังเหรียญปืดตาเนื้อนวะเล็ก ตะกรุดสาลิกา พญาเหล็ก จำนวนสร้าง ๑๒ องค์
เนื้อดำ หน้าเกศา หลังฝังพญาเหล็ก และตะกรุดสาลิกาคู่ จำนวนสร้าง ๑๒๐ องค์
เนื้อดำ หลังฝังพญาเหล็กใหญ่ และตะกรุดสาลิกาคู่ จำนวนสร้าง ๑๐ องค์
เนื้อน้ำตาลสยบไพรี หลังฝังพญาเหล็กใหญ่ และตะกรุดสาลิกาคู่ จำนวนสร้าง ๑๑๐ องค์
เนื้อดินกากยายักษ์ หลังฝังพญาเหล็ก จำนวนสร้าง ๑๗๙ องค์
(มีทั้งด้านหลังปิดทองในพิมพ์และไม่ปิดทอง)
เนื้อขาวจักรพรรดิ หลังฝังเหรียญปิดตาพังพะกาฬ เนื้อนวะโลหะเหล็ก จำนวนสร้าง ๓๓ องค์
เนื้อขาวจักรพรรดิ หลังฝังเหรียญปิดตาพังพะกาฬ เนื้อทองแดงเล็ก จำนวนสร้าง ๓๓ องค์
เนื้อขาวจักรพรรดิ หลังฝังเหรียญปิดตาพังพะกาฬเล็ก เนื้อตะกั่ว จำนวนสร้าง ๑๑๐ องค์
เนื้อสุริยันทรงกลด หลังฝังเหรียญปิดตาพังพะกาฬเล็ก เนื้อตะกั่ว จำนวนสร้าง ๑๑๒ องค์
เนื้อก้นครก หรือเนื้อเหลือ เป็นเนื้อที่เหลือติดก้นครก จากการผสมเนื้อในแต่ละครั้ง บางครั้งเหลือน้อยไม่สามารถพิมพ์เป็นพระเต็มองค์ได้ จึงนำเนื้อที่เหลือมารวมกัน แล้วกดพิมพ์องค์พระออกมา กรณีพระมีเนื้อผงสีขาวเป็นส่วนใหญ่ ก็จะเรียกว่า “เนื้อขาวก้นครก” หรือกรณีที่พระมีเนื้อผงสีดำเป็นส่วนใหญ่ก็จะเรียกว่า “เนื้อดำก้นครก” เนื้อเหลือจึงเป็นสิ่งที่เป็นมงคลมาก ความหมายคือ เหลือกิน เหลือใช้
เนื้อดำก้นครก และขาวก้นครก ด้านหลังฝังปรกราชันดำ เนื้องทองแดง จำนวนสร้างรวมกันประมาณ ๑๕๙ องค์
เนื้อขาวก้นครก หลังฝังปรกราชันดำ เนื้อทองแดง
เนื้อดำก้นครก หลังฝังปรกราชันดำ เนื้อทองแดง
เนื้อขาวจักรพรรดิ หลังฝังปรกราชันดำ เนื้อทองแดง จำนวนสร้าง ๓๘๙ องค์
เนื้อดำปฐพี หลังฝังปรกราชันดำ เนื้อทองแดง จำนวนสร้าง ๑๕๙ องค์
เนื้อสุริยันทรงกลด ๒ โค๊ด หลังฝังปรกสุริยัน-จันทรา เนื้อทองแดง จำนวนสร้าง ๑๐๐ องค์
เนื้อสุริยันทรงกลด หลังฝังปรกสุริยัน-จันทรา เนื้อทองแดง
เนื้อสองสีผ่าตะวัน กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ
หลังฝังปรกสุริยัน-จันทรา เนื้อทองแดง จำนวนสร้าง ๑๐๐ องค์
เนื้อขาวจักรพรรดิ หลังฝังตะกรุดสาลิกาตะกั่วคู่ (ถักเชื่อก)
จำนวนสร้างรวมทั้งปัดทองในพิมพ์และไม่ปัดทอง ประมาณ ๖๐ องค์
เนื้อขาวจักรพรรดิ หลังฝังตะกรุดสาลิกาคู่ จำนวนสร้าง ๒๐๐ องค์
เนื้อดำ หลังฝังตะกรุดสาลิกาคู่ จำนวนสร้าง ๓๑๖ องค์
เนื้อน้ำตาล หลังฝังตะกรุดสาริกาคู่ จำนวนสร้าง ๕๐๐ องค์
เนื้อสองสีผ่าตะวัน กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ หลังฝังตะกรุดสาริกาคู่
เนื้อสองสีผ่าตะวัน กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ หลังฝังตะกรุดสาริกาคู่ จำนวนสร้างทุกสี ๑๐๐ องค์
เนื้อดินกากยายักษ์ปัดทองในพิมพ์ กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ
หลังฝังตะกรุดสาลิกาคู่ จำนวนสร้าง ๑๐๐ องค์
เนื้อทรงกลด หลังฝังตะกรุดสาริกาคู่ จำนวนสร้าง ๕๐๐ องค์
เนื้อทรงกลด หลังฝังตะกรุดสาลิกาคู่ (มีโค๊ด ๒ ตัว ซ้าย-ขวา) จำนวนสร้าง ๑๐๐ องค์
เนื้อดำ โรยผงตะไบแหวนปิดตาพังพะกาฬ เนื้อนาก จำนวนสร้าง ๗๔ องค์
เนื้อน้ำตาลสยบไพรี ปัดทองในพิมพ์ จำนวนสร้าง ๑,๕๐๐ องค์
เนื้อดำ ปัดทองในพิมพ์ จำนวนสร้าง ๑๕๕ องค์
เนื้อเทาบัลลังก์ ปัดทองในพิมพ์ จำนวนสร้าง ๑,๐๐๐ องค์
เนื้อสองสีผ่าตะวัน กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ
เนื้อสองสีผาตะวัน ด้านหน้า-หลัง เป็นคนละสี ส่วนใหญ่จะมีลักษณะโค้งคล้ายจาน เนื่องจากการหดตัวของเนื้อ จึงเรียกว่า “จานดาวเทียม” จำนวนสร้าง ๑,๐๐๐ องค์ (ทั้งแบบด้านหลังฝังปรกสุกริยัน-จันทรา, มีตะกรุดและไม่มีตะกรุด) พระบางส่วนนำไปบรรจุในรูปเหมือนบูชาองค์พ่อ ๙ นิ้ว รุ่นมรดกพ่อ
ความหมาย ของ “จานดาวเทียม” จึงมี ๒ นัย คือ เป็นตามลักษณะของรูปทรง และอีกนัยหนึ่ง ซึ่งหลวงพ่อโชติ เคยพูดเล่นกับลูกศิษย์ ถึงจานดาวเทียมว่า “จะอยู่ที่ไหน ก็รับได้”
เนื้อสุริยันทรงกลด ปัดทอง, เงิน, นาก
เนื้อสุริยันทรงกลด กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ จำนวนสร้าง ๕๐๐ องค์
เนื้อสุริยันทรงกลด จำนวนสร้าง ๔,๐๐๐ องค์
เนื้อเขียวกตัญญู ปัดทองในพิมพ์ จำนวนสร้าง ๒๐ องค์
เนื้อเขียวกตัญญู จำนวนสร้าง ๗๐๐ องค์
เนื้อขาว, ดำก้นครก หนือเนื้อเหลือ จำนวนสร้าง ๑๐๐ องค์
เนื้อดำฝักคูณ (เนื้อเหลือจากกดพิมพ์ปฐมฤกษ์) จำนวนปรมาณ ๑๐๘ องค์
เนื้อดำฝักคูณ จำนวนสร้าง ๔,๐๐๐ องค์
เนื้อดินกากยายักษ์ กดโค๊ด “ตัวสำเร็จ” ๒ โค๊ด ซ้ายขวาข้างองค์พ่อ
จำนวนสร้าง ๑,๕๐๐ องค์ (แจกผู้มาร่วมงานเทวาภิเษกวัตถุมงคล รุ่นมรดกพ่อ)
เนื้อดินกากยายักษ์ เนื้อหยาบ จำนวนสร้าง ๑,๐๐๐ องค์
เนื้อดินกากยายักษ์ผสมเถ้าอังคาร เนื้อละเอียด จำนวนสร้าง ๒,๐๐๐ องค์
เนื้อขาวจักรพรรดิ หน้ายันต์ (เขียนโดยครูเย็น ลูกบุญธรรมหลวงปู่ทิม วัดระหารไร่)
จำนวนสร้าง ๑,๐๐๐ องค์
เนื้อขาวจักรพรรดิ จำนวนสร้าง ๑,๐๐๐ องค์
เนื้อเทาบัลลังก์ จำนวนสร้าง ๕,๐๐๐ องค์
เนื้อน้ำตาลสยบไพรี จำนวนสร้าง ๕,๐๐๐ องค์
เนื้อน้ำตาลสยบไพรี มีจำนวนทั้งสิ้น ๕,๐๐๐ องค์ นำมาปิดทองและเงิน จำนวน ๕๐๐ องค์ จารอักขระ ๔ ตัว ด้วยเหล็กจาร ออกให้ทำบุญในวันปีใหม่ ปี ๒๕๔๙ และนำมาปิดทองและเงิน จำนวน ๑,๕๐๐ องค์ จารอักขระ ๖ ตัว ด้วยเหล็กจาร ออกให้ทำบุญในวันตรุษจีน ปี ๒๕๔๙
เนื้อดินกากยายักษ์ ด้านหน้าฝังพลอย ด้านหลังฝังตะกรุดและพญาเหล็ก (พิเศษสร้างน้อย)
เนื้อพิเศษสองสี แดง-ดำปฐพี (มีน้อย)
เนื้อพิเศษสองสี ดำปฐพีและน้ำตาลสยบไพรี (มีน้อย)
เนื้อน้ำตาลสยบไพรี หลังฝังเหรียญปิดตาพังพะกาฬ เนื้อตะกั่ว (มีน้อย)
เนื้อพิเศษสองสี เทาเถ้าอังคารและน้ำตาลสยบไพรี (มีน้อย)
เนื้อดำฝักคูณปัดทอง ด้านหลังฝังปรกราชันดำและตะกรุดสาริกา (มีน้อย)